สร้างแรงจูงใจเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเอง
การจูงใจ (Motivation) หมายถึง แรงเสริมให้กระทำกิจกรรมต่างๆสำเร็จตามจุดประสงค์นักจิตวิทยาได้แบ่งการจูงใจออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
- การจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) หมายถึง แรงผลักดันซึ่งเกิดขึ้นภายในจิตใจและความสนใจ ซึ่งรวมถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่น การโฆษณาส่งโค้กและส่งยิ้ม หรือการที่เราดูหนังxแล้วเกิดความสุข เป็นต้น
- การจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) หมายถึง ความมุ่งหมายซึ่งมีจุดประสงค์ให้ปฏิบัติเป็นระยะเวลาไป ซึ่งจะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อตอบสนองสิ่งที่ตามมาก็คือ เกิดภาวะความเครียดในประสาทสัมผัส การตอบสนองต้องเกิดจากแรงจูงใจเพื่อให้การตอบสนองนั้นบรรลุ ยกตัวอย่างง่ายๆ บางคนที่ใช้หนังxเป็นต้นแบบเวลามีเซ็กส์ แต่ทำไม่เก่งเท่าพระเอก จะผิดหวังก็ไม่แปลก
ทฤษฎีมาสโลว์ กล่าวถึงเรื่องแรงจูงใจว่าด้วยเหตุที่มนุษย์ประกอบพฤติกรรมและสภาวะการจูงใจของมนุษย์มี 5 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางด้านกายภาพ (Physiological need) ซึ่งได้แก่ ความต้องการในด้านอาหาร น้ำ ยารักษาโรค และเครื่องนุ่งห่ม บางคนเห็นดาราหนังxใส่เสื้อผ้าสวยๆก็อยากลองใส่บ้าง เมื่อมนุษย์ได้รับการตอบสนองในขั้นแรก มนุษย์ก็เริ่มมีความต้องการในขั้นที่ 2
ขั้นที่ 2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety need) ซึ่งได้แก่ความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไป
ขั้นที่ 3 ความต้องการในด้านความรักและการเป็นเจ้าของ (Love need) ซึ่งหมายถึง ความสัมพันธ์เนื่องจากความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและเป็นที่รักในสังคมนั้น เพราะการดูหนังxต่างจากการมีแฟนหรือมีคนรักจริงๆ
ขั้นที่ 4 ความภาคภูมิใจในตัวเอง (Ego/Esteem need) ได้แก่ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความมีฐานะ คุณค่า หรือภูมิใจว่าน้องชายเราใหญ่เท่าพระเอกหนังx จนทำให้คนรักมีความสุข แบบนี้ก็ได้
ขั้นที่ 5 ความสำเร็จในความมุ่งหมายของชีวิตการแสดงฐานะสูงสุดของชีวิต (Self-actualization) เป็นบุคคลที่ได้พัฒนาถึงขั้นสุดยอดของชีวิตต้องการอะไร ทำอะไรก็ได้ตามความประสงค์ ตามอุดมคติ
แต่ก่อนที่จะเกิดพฤติกรรมใดๆ จะต้องมีความต้องการและแรงขับ เพื่อให้ได้รับการตอบสนองตามจุดมุ่งหมายอันเกิดจากการจูงใจ ซึ่งพฤติกรรมที่ถูกจูงใจนั้นจะก่อให้เกิดความพยายามอย่างต่อเนื่องและฉับพลันเป็นแรงขับที่เกิดในสภาวะทางร่างกาย (Homeostasis) เพื่อให้ร่างกายกลับสู่ความสมดุลของร่างกายดังเดิม